เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
Local fishing gears
<p style="text-align: center;"><span style="font-size: 12pt;"><strong>ข้อมูลเครื่องมือหาปลาพื้นบ้าน</strong></span></p> <ul> <li class="fishtail1"><strong><a href="toolholdfish_info_serin.php">ฐานข้อมูลออนไลน์ เครื่องมือหาปลาพื้นบ้านในแม่น้ำต่างๆ</a></strong></li> </ul> <ul class="fishtail1 style7 style2"> <li class="fishtail1 "><a href="4river-tran/4mk/fishinggear_book.pdf">หนังสือ เครื่องมือหาปลาพื้นบ้านลุ่มน้ำโขง</a> (ฉบับร่าง ห้ามอ้างอิง)</li> <li class="fishtail1 "><a href="3river-thai/rs/fishinggear_table.htm" class="fishtail1a">ตารางแสดงความสำพันธ์ ระหว่างเครื่อง มือหาปลาในราษีไศล ฤดูกาล และระบบนิเวศ</a></li> <li class="fishtail1 "><a href="2work/tb/gear.pdf">รวมภาพวาดสีน้ำ เครื่องมือหาปลาพื้นบ้าน</a></li> <li class="fishtail1 "><a href="5pub/gallery1-mek/index.html">รวมภาพวาดลายเส้น เครื่องมือหาปลาพื้นบ้านในลุ่มแม่น้ำโขง</a></li> </ul> <p style="text-align: center;"><img src="image/mekong/mek_a_003sm.jpg" alt="" width="108" height="144" style="float: left;" hspace="8" vspace="8" /><span class="style2">แม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย ไหลหล่อเลี้ยงประชาชนทั้ง ๖ ประเทศตั้งแต่ จีน พม่า ลาว ไทย เวียดนาม กัมพูชา การหาปลาเป็นอาชีพหนึ่งที่หล่อเลี้ยงชุมชนตลอดริมฝั่งแม่น้ำโขงและแม่น้ำสาขา มาเป็นเวลานานตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ เครื่องมือหาปลาในแม่น้ำโขงจึงมิได้หมายถึงสิ่งของที่ทำไว้เพื่อใช้ในการจับปลาเท่านั้น แต่ยังเป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนและแม่น้ำ ความรู้ท้องถิ่น วัฒนธรรมลุ่มน้ำ และความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนทั้งในชุมชนและนอกชุมชนที่มีวิถีชีวิตผูกผันกับแม่น้ำ</span></p> <p class="style2" style="text-align: left;">แต่การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและการลดลงของพันธุ์ปลา ซึ่งเกิดจากผลของการพัฒนาในลุ่มน้ำโขง ได้ทำให้เครื่องมือหาปลาพื้นบ้านเหล่านี้ ลดลงและสูญหายไป การหายไปนี้จึงไม่ได้หมายถึงการหายไปของตัวเครื่องมือเท่านั้น</p> <p class="style2" style="text-align: left;"> งานวิจัยไทบ้านที่จัดทำขึ้นในพื้นที่ต่างๆ สี่พื้นที่ในลุ่มแม่น้ำโขง อันได้แก่ แม่น้ำโขงที่ อ.เชียงของ แม่น้ำมูลที่ เขื่อนปากมูล เขื่อนราษีไศล และ แม่น้ำสงคราม นอกจากการศึกษาประเด็นต่างๆแล้ว การศึกษาเรื่ององค์ความรู้ท้องถิ่นจากเครื่องมือหาปลาพื้นบ้าน เป็นประเด็นที่สำคัญอีกอันหนึ่งของงานวิจัย จากการศึกษาได้พบว่าการสร้าง และใช้เครื่องมือหาปลาแต่ละชนิด เพื่อจับปลาแต่ละชนิด ที่แตกต่างและหลากหลายในแม่น้ำโขงนั้น ต้องอาศัยความรู้ในหลายด้านเป็นอย่างดี เช่น ความรู้เรื่องพฤติกรรมของปลาแต่ละชนิด ระบบนิเวศของแม่น้ำ ฤดูกาล และความรู้เรื่องวัสดุในการสร้างเครื่องมือหาปลา <br /> นอกจากนี้ยังพบว่า เครื่องมือหาปลายังสะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้คนทั้งในชุมชนและนอกชุมชน ที่มีวิถีชีวิตผูกผันกับแม่น้ำ การหาปลาจึงก่อให้เกิดความสามัคคีระหว่างพี่น้องในชุมชนและต่าง ชุมชนจนเป็นรากฐานทางวัฒนธรรมของคนหาปลา ดังจะเห็นได้จาก การใช้ เครื่องมือหาปลาบางชนิด ต้องใช้ร่วมกันหลายคนเป็นหมู่คณะ เครื่องมือบางชนิดต้อง มีการเซ่นไหว้เจ้าที่เจ้าทางก่อนมีการใช้ ซึ่งบางอย่างแฝงไว้ซึ่งการเคารพธรรมชาติ การอยู่ร่วมกันของคนในชุมชนอย่างสามัคคี<br /> งานวิจัยได้พบว่าพื้นที่ปากมูนมีเครื่องมือหาปลาพื้นบ้าน 75 ชนิด ในแม่น้ำสงคราม 80 ชนิด แม่น้ำโขงบริเวณ อ.เชียงของ 69 ชนิด แม่น้ำมูลช่วงราษีไศล 48 ชนิด</p> <p style="text-align: left;"><strong>โปสการ์ดเครื่องมือหาปลาพื้นบ้านในลุ่มแม่น้ำโขง</strong></p> <p style="text-align: center;"><img src="image/pub/fishinggear_postcard1.gif" alt="" width="180" height="120" /> <img src="image/pub/fishinggear_postcard2.gif" alt="" width="121" height="180" /> <img src="image/pub/fishinggear_postcard3.gif" alt="" width="120" height="180" /> <img src="image/pub/fishinggear_postcard4.gif" alt="" width="120" height="180" /></p> <p><strong style="text-align: left;">แผ่นพับเครื่องมือหาปลาพื้นบ้านในลุ่มแม่น้ำโขง (pdf ขนาด 200 MB)</strong></p> <p style="text-align: center;"><a href="4river-tran/4mk/fishinggear_borchure2.pdf"><img src="image/pub/fishinggear_borchure2.gif" alt="" width="304" height="216" border="1" /></a> <a href="4river-tran/4mk/fishinggear_borchure1.pdf"> <img src="image/pub/fishinggear_borchure1.gif" alt="" width="304" height="216" border="1" /></a></p> <div> </div>
Taibaan training
Taibaan Research in all areas
<p style="text-align: center;"><strong>งานวิจัยไทบ้านในพื้นที่ต่างๆ</strong></p> <table style="width: 800px;"> <tbody> <tr> <td> <table style="width: 600px;"> <tbody> <tr> <td>“งานวิจัยไทบ้านมีจุดเด่นที่คณะกรรมการเห็นพ้องต้องกันว่าสมควร ได้รับรางวัลชนะเลิศ เนื่องจากถือเป็นงานวิจัยที่ทำโดยชุมชนตลอดกระบวนการอย่างแท้จริง ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาวิจัยแม่น้ำมูน พืชผักริมแม่น้ำ อุปกรณ์หาปลา และการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำในการเกษตร ที่สำคัญคณะกรรมการได้ให้เหตุผลว่า แม้งานวิจัยจะนำไปใช้ประโยชน์ในแง่ของการต่อรองทางการเมือง แต่ในอีกด้านหนึ่งคือกำไรอันเกิดขึ้นจากกระบวนการวิจัยที่นำไปสู่ การเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นระบบของชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบทั้ง 65 หมู่บ้าน ซึ่งท้ายที่สุดได้ก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพกาย สุขภาพใจ และสุขภาพของคนในชุมชนอย่างเห็นได้ชัด งานวิจัยดังกล่าวถือเป็นต้นแบบการทำวิจัยในชุมชน ที่น่าสนใจและสามารถถ่ายทอดไปยังชุมชน อื่น ๆ ได้”</td> </tr> </tbody> </table> <p><strong>น.พ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ </strong>เลขาธิการมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ<strong> </strong><br />ให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน ในโอกาสที่งานวิจัยไทบ้านปากมูนชนะเลิศการประกวด <br />โครงการสร้างกำไรให้สุขภาพชุมชนซึ่งจัดโดย มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ <br />สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และองค์การอนามัยโลก (มติชน 16 ธันวาคม 2545</p> <table style="width: 600px;"> <tbody> <tr> <td>วิจัยไทบ้านของสมัชชาคนจนเป็นแบบอย่างของความสำเร็จที่ไม่ค่อยมีบ่อยนัก ผมคิดว่าหน่วยงานที่ส่งเสริมการวิจัยทั้งหลายควรใส่ใจกระบวนการวิจัยครั้งนี้ให้มาก จะส่งคนไปรวบรวมความรู้ กระบวนการจากนักวิจัยและผู้ช่วยนักวิจัยเพื่อการเรียนรู้ของตนเองได้ยิ่งดี ส่วนหนึ่งของความสำเร็จของวิจัยไทบ้านในครั้งนี้ เกิดขึ้นจากการที่ชาวบ้านได้ตั้งคำถามการวิจัยตลอดจนนิยามคำถามนั้นด้วยตนเอง คำถามการวิจัยเป็นคำถามที่ชาวบ้านเองอยากได้คำตอบ ไม่ใช่คำถามที่ถูกนักวิชาการภายนอกนิยามให้ นอกจากนี้ชาวบ้านเป็นนักวิจัยเอง ไม่ได้เป็นผู้ช่วยนักวิจัยหรือผู้ให้ข้อมูลแก่นักวิชาการซึ่งมักจะฟันเงินนักวิจัยไปเป็นส่วนใหญ่ ความรู้ที่วิจัยไทบ้านสร้างสรรค์ขึ้นจากงานวิจัยชิ้นนี้ จึงมีลักษณะที่แตกต่างจากงานวิจัยทั่วไป ซึ่งมักเป็นความรู้ที่ได้จากการสังเกตการณ์ของคนภายนอก แต่วิจัยไทบ้านให้ข้อมูลและการวิเคราะห์จากภายใน ใครอ่านก็จะได้กลิ่นอายและความรู้สึกอย่างนี้ชัดเจน และทำให้ผลการศึกษาของวิจัยไทยบ้านครั้งนี้แตกต่างจาก การวิจัยที่เราคุ้นเคยอย่างมาก แม้ว่าโดยแบบฟอร์มจะไม่ต่างกันก็ตาม</td> </tr> </tbody> </table> <p><strong>นิธิ เอียวศรีวงศ์</strong> มติชนสุดสัปดาห์ 9-15 สค 45 ปีที่ 22 หน้า 28 </p> <p> นับแต่งานวิจัย “การกลับมาของคนหาปลา” ซึ่งเป็นงานวิจัยไทบ้านหรืองานวิจัยชาวบ้าน ฉบับแรกซึ่ง จัดทำโดยชาวปากมูนแล้วเสร็จในปี ๒๕๔๕ งานวิจัยไทบ้านที่ได้รับการ ยอมรับอย่างกว้างขวางก็ได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องและขยายไปยังพื้นที่ต่างๆ หลายแห่งในลุ่มน้ำโขงและสาละวินซึ่งชุมชนและองค์กรต่างๆ ที่ทำงานในพื้นที่ต้องการ ทำวิจัยในลักษณะเดียวกันเพื่อนำ งานวิจัยมาใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างความ เข้มแข็งให้ชุมชน ด้วยการรวมตัวกันรื้อฟื้นความรู้ท้องถิ่น ที่นับวันจะถูกทำให้ไม่มีความหมายหรือถูกกีดกันไปจากกระบวน การตัดสินใจในโครงการที่กระทบต่อทรัพยากรของท้องถิ่น ชุมชนท้องถิ่นยังคาดหวังว่า งานวิจัยไทบ้านจะเป็นฐานในการ สร้างหลักสูตรการศึกษาของท้องถิ่นเช่น หลักสูตรโรงเรียนแม่น้ำ และหลักสูตรท้องถิ่นของโรงเรียน รวมไปถึงการจัดทำแผนการจัดการทรัพยากรโดยชุมชนเอง ปัจจุบันโครงการแม่น้ำเพื่อชีวิตได้นำระเบียบวิธีวิจัยไทบ้านไปพัฒนาในหลายพื้นที่ดังรายชื่อข้างล่างนี้ </p> <p><strong><img src="image/i/bullet10267_.gif" alt="" width="12" height="12" />หนังสือ งานวิจัยไทบ้านในแต่ละพื้นที่</strong> (โปรดคลิกหนังสือแต่ละเล่มเพื่อดาวน์โหลด)</p> <table style="width: 800px;"> <tbody> <tr> <td style="width: 375px;"> <p><strong><a href="3river-thai/pm/tb_research/pm-women-book.pdf">แม่ญิง(ผู้หญิง)แม่มูน : วิถีชีวิตและการต่อสู้</a></strong><br />งานวิจัยไทบ้าน โดยผู้หญิงแม่มูน ปีที่ผลิต 2555</p> <p><strong>Women of the Mun River : Livelihoods and their Fight</strong><br />Tai Baan Research by local women affected by Pak Mun Dam<br />published in 2012 (avialable in Thai only)</p> </td> <td style="width: 377px;"> <p><a href="3river-thai/pm/tb_research/pm-women-book.pdf"><img src="image/pub/pm-women-book.jpg" alt="" width="118" height="165" /></a></p> </td> </tr> <tr> <td><a href="4river-tran/4mk/mek_fisk_book.pdf"><img src="image/pub/mek_fishbook.jpg" alt="" width="108" height="166" /></a></td> <td style="width: 377px;"> <p><strong><a href="4river-tran/4mk/mek_fisk_book.pdf">ความรู้ท้องถิ่นเรื่องพันธุ์ปลา แม่น้ำโขง</a></strong> : งานวิจัยจาวบ้าน (ไทบ้าน) โดย คณะนักวิจัยจาวบ้านเชียงของ-เวียงแก่น <br />ปีที่ผลิต 2549</p> <p>หนังสือฉบับนี้เป็นผลต่อเนื่องจากงานวิจัยจาวบ้านเชียงของ เนื่องจากเล็งเห็นความสำคัญในประเด็นเรื่องพันธุ์ปลาซึ่งมีอยู่จำนวนมาก โดยนำเสนอรายละเอียดของปลาแต่ละชนิดโดยละเอียดพร้อมกับภาพประกอบ</p> </td> </tr> <tr> <td style="width: 375px;"> <p><strong><a href="5pub/print.html#salween">วิถีแม่น้ำ วิถีป่า ของปกากญอ สาละวิน</a> </strong>: งานวิจัยปกากญอ โดย...คณะนักวิจัยปกากญอสาละวิน<br />หนังสือพร้อมฟรีวีซีดี ปีที่ผลิต 2548</p> <p>งานวิจัยจาวบ้านลุ่มน้ำสาละวิน เป็นงานวิจัยที่จัดทำโดยชาวปกาเกอญอหรือกะเหรี่ยงที่ตั้งชุมชนใน เขตลุ่มน้ำสาละวินและน้ำสาขาในเขตอำเภอแม่สะเรียงและสบเมย ชุมชนเหล่านี้กำลังจะได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อนสาละวินบนพรมแดนไทย-พม่า และโครงการผันน้ำสาละวิน คาดว่าจะแล้วเสร็จในปลายปี ๓๕๔๗ </p> </td> <td><a href="5pub/print.html#salween"><img src="image/pub/sw_tb_bookcover.gif" alt="" width="108" height="162" /></a></td> </tr> <tr> <td style="width: 375px;"><a href="5pub/print.html#yom"><img src="image/pub/kstd_cover.gif" alt="yom" width="108" height="165" /></a></td> <td> <p><strong><a href="5pub/print.html#yom">แม่น้ำยม ป่าสักทอง.. วิถีชีวิตของคนสะเอียบ</a> </strong>: งานวิจัยจาวบ้านที่แก่งเสือเต้น <br />ปีที่ผลิต 2549</p> <p>เป็นงานวิจัยของจาวบ้านบ้านดอนชัย บ้านดอนชัยสักทอง บ้านดอนแก้ว และบ้านแม่เต้นที่อาศัยอยู่ในเขตผืนป่าแม่ยม ต.สะเอียบ อ.สอง จ.แพร่ งานวิจัยชิ้นนี้ต้องการนำเสนอข้อมูลในด้านต่างๆของทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีอยู่ในผืนป่าและการนำมาใช้ประโยชน์อย่างรู้คุณค่าพร้อมทั้งแนวคิดในการอนุรักษ์ ของชาวบ้านที่มีมาอย่างช้านาน</p> <ul> <li><a href="5pub/gallery5-kst/index.html">ประมวลภาพกิจกรรมการวิจัย</a></li> </ul> </td> </tr> <tr> <td style="width: 375px;"> <p><strong><a href="5pub/print.html#rasi">ราษีไศล : ภูมิปัญญา สิทธิ และวิถีแห่งป่าทามแม่น้ำมูน</a> <br /></strong>งานวิจัยไทบ้านที่ราษีไศล ปีที่ผลิต 2548</p> <p>งานวิจัยไทบ้านในบริเวณลุ่มน้ำมูนตอนกลางภายหลังการเปิดเขื่อนราษีไศล จัดทำโดย ชาวบ้านราศีไศล ๓๖ ชุมชน เพื่อแสดงให้เห็นการกลับมาของป่าบุ่งป่าทามที่เปรียบเสมือนห้องครัวของคน ๓ จังหวัดในอีสานตอนล่าง โดยเครือข่ายแม่น้ำเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นผู้ช่วยนักวิจัย คาดว่าจะแล้วเสร็จในกลางปี ๒๕๔๗ งานวิจัยไทบ้านที่นี่ยังจะเป็นฐานที่สำคัญในการทำหลักสูตรโรงเรียนแม่น้ำ</p> </td> <td><a href="5pub/print.html#rasi"><img src="image/pub/rsd_tb_bookcover.jpg" alt="" width="108" height="165" /></a></td> </tr> <tr> <td style="width: 375px;"><a href="5pub/print.html#mek"><img src="image/pub/mek_research_book.jpg" alt="" width="110" height="165" /></a></td> <td> <p><strong><a href="5pub/print.html#mek">แม่น้ำโขง : แม่น้ำแห่งวิถีชีวิตและวัฒนธรรม </a></strong><br />งานวิจัยจาวบ้าน (ไทบ้าน) โดย. คณะนักวิจัยชาวบ้าน อ.เชียงของและเวียงแก่น <br />ปีที่ผลิต 2547</p> <p>งานวิจัยจาวบ้านเชียงของ จัดทำโดยชาวบ้านในเขตอำเภอเชียงของ ๕ หมู่บ้านริมฝั่งแม่น้ำโขงทางฝั่งไทยที่ได้รับผลกระทบ จากการระเบิดแก่งแม่น้ำโขงและ ผลกระทบจากการสร้างเขื่อนในจีน คำว่า “จาวบ้าน” เป็นคำเมืองที่แปลว่าชาวบ้าน เช่นเดียวกับคำว่า “ไทบ้าน” ในภาคอีสาน โดยเครือข่ายแม่น้ำเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ โครงการแม่น้ำและชุมชนเป็นผู้ช่วยนักวิจัย คาดว่าจะแล้วเสร็จในเดือนมิถุนายน ๒๕๔๗</p> </td> </tr> <tr> <td style="width: 375px;"> <p><strong><a href="5pub/print.html#mun">แม่มูน "การกลับมาของคนหาปลา"</a></strong> : งานวิจัยไทบ้านที่ปากมูล<br />ปีที่ผลิต 2545</p> <p>เป็นการศึกษาครั้งแรก ที่ถูกจัดทำขึ้นโดยนักวิจัยชาวบ้านโดยใช้ความรู้แบบ ภูมิปัญญาท้องถิ่นแทนที่จะถูกจัดทำโดยนักวิชาการที่ใช้ความรู้แบบวิทยาศาสตร์ การวิจัยนี้ไม่เพียงแต่เป็นการรวบรวมชนิดพันธุ์ปลาภายหลังการเปิด ประตูเขื่อนปากมูลที่เป็นตัวชี้ว่าแม่น้ำมูนได้ฟื้นคืนชีวิตเท่านั้น แต่ยังเป็นการรื้อฟื้นองค์ความรู้ของชาวปากมูนกลับคืนมา</p> </td> <td><a href="5pub/print.html#mun"><img src="image/pub/pmd_book2-sm.jpg" alt="" width="119" height="165" /></a></td> </tr> </tbody> </table> <table style="width: 800px;"> <tbody> <tr> <td> </td> </tr> <tr> <td> <p><strong>งานวิจัยไทบ้านลุ่มน้ำสงคราม</strong></p> <p>นอกจากงานที่ดำเนินการโดยโครงการแม่น้ำเพื่อชีวิตในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีงานวิจัยไทบ้านในอีกพื้นที่หนึ่งที่เป็นโครงการของ <strong>สหภาพสากลว่าด้วยการอนุรักษ์ (IUCN)</strong> ซึ่งเราได้เข้าไปร่วมดำเนินงาน ซึ่งก็คือ <strong>"</strong><strong>นิเวศวิทยา และ ประวัติศาสตร์ ป่าบุ่งป่าทาม : งานวิจัยไทบ้านลุ่มน้ำสงครามตอนล่าง</strong><strong>"</strong> ทำโดยชาวบ้าน ๕ หมู่บ้านในเขตลุ่มน้ำสงครามตอนล่าง โดยมีกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมนครพนม และ สหภาพสากลว่าด้วยการอนุรักษ์ (IUCN) เป็นผู้ช่วยนักวิจัย งานวิจัยนี้คาดหวังว่าจะใช้เป็นฐานในการทำแผนการจัดการ ลุ่มน้ำสงครามตอนล่างซึ่งรวม ไปถึงการแก้ไขปัญหาการประมงเชิงพาณิชย์ที่ทำลายล้างสูง โดยโครงการแม่น้ำเพื่อชีวิตได้สนับสนุนทางเทคนิคที่รวมถึง การฝึกอบรมนักวิจัยไทบ้าน และผู้ช่วยนักวิจัยเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยและการเขียนรายงาน </p> <ul> <li><a href="http://youtu.be/XukclIcfsrA">ดูวีดีโอ</a></li> </ul> <p><strong>นิเวศวิทยา และ ประวัติศาสตร์ ป่าบุ่งป่าทาม : งานวิจัยไทบ้านลุ่มน้ำสงครามตอนล่าง</strong><br />โดย.. เครือข่ายนักวิจัยไทบ้านลุ่มน้ำสงครามตอนล่าง ปีที่ผลิต 2548</p> <table style="width: 700px;"> <tbody> <tr> <td style="width: 148px;"><img src="image/pub/songkharm_tbr_cover.jpg" alt="" width="108" height="160" /></td> <td style="width: 210px;"><img src="image/thai/songkharm_tbr.jpg" alt="" width="180" height="135" /><br />ยามขา เครื่องมือหาปลาพื้นบ้าน ชนิดหนึ่ง</td> <td style="width: 442px;"><ol> <li><a href="2work/tb/songkharm/songkhram_tbr_cover.pdf">หน้าปก</a> pdf 45 KB</li> <li><a href="2work/tb/songkharm/songkhram_tbr_intro.pdf">บทนำ สารบัญ</a> pdf 114 KB</li> <li><a href="2work/tb/songkharm/songkhram_tbr_sumth.pdf">บทสรุป (ภาษาไทย)</a> pdf 93 KB</li> <li><a href="2work/tb/songkharm/songkhram_tbr_sum_en.pdf">บทสรุป (ภาษาอังกฤษ)</a> pdf 66 KB</li> <li><a href="2work/tb/songkharm/songkhram_tbr_method.pdf">ระเบียบวิจัย</a> pdf 460 KB</li> <li><a href="2work/tb/songkharm/songkhram_tbr_c1.pdf">ภาคที่ ๑</a> pdf 552 KB</li> <li><a href="2work/tb/songkharm/songkhram_tbr_c2.pdf">ภาคที่ ๒ </a> pdf 481 KB</li> <li><a href="2work/tb/songkharm/songkhram_tbr_c3.pdf">ภาคที่ ๓</a> pdf 512 KB</li> <li><a href="2work/tb/songkharm/songkhram_tbr_c4.pdf">ภาคที่ ๔</a> pdf 339 KB</li> <li><a href="2work/tb/songkharm/songkhram_tbr_c_append.pdf">ภาคผนวก</a> pdf 197 KB</li> </ol></td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> <tr> <td> </td> </tr> </tbody> </table> <p><strong><img src="image/i/bullet10267_.gif" alt="" width="12" height="12" /><a href="5pub/campaign-media.html#tb">โปสเตอร์ บทสรุปงานวิจัยไทบ้านในแต่ละพื้นที่</a></strong></p> <p><strong><img src="image/i/bullet10267_.gif" alt="" width="12" height="12" /><a href="4river-tran/4mk/_mek_food.html">โครงการศึกษาวิจัย “แม่ญิง(ผู้หญิง)ลุ่มน้ำโขงกับความมั่นคงทางอาหาร” กรณีศึกษา จังหวัดเชียงราย</a> </strong>ปี พ.ศ. 2552</p> <p><strong><img src="image/i/bullet10267_.gif" alt="" width="12" height="12" /></strong><strong><a href="2work/tb/eco_map.html">แผนที่นิเวศวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง</a></strong></p> <p><strong><img src="image/i/bullet10267_.gif" alt="" width="12" height="12" /></strong><a href="2work/tb/tb_cam.pdf"><strong>บทสรุปงานวิจัยศาลาภูมิ(วิจัยไทบ้าน)แสดงถึงข้อมูลระบบนิเวศและพันธุ์ปลาแม่น้ำโขง บริเวณที่จะสร้างเขื่อนดอนสะฮง</strong></a></p> <p> <a href="en-tbr.htm">ข้อมูลภาษาอังกฤษ >></a></p> </td> </tr> </tbody> </table>